IT Learning Journal 11 :Business Intelligent II & Strategic Information System Planning
Web Mining ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ Technology และ ผู้รับ โดยมีการใช้ Internet เป็นสื่อกลาง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
· Web content mining –เก็บข้อมูลจากweb page เป็นการดู Content ต่างๆ บนเว็บ ที่ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์นั้นเข้ามา
· Web content mining –เก็บข้อมูลจากweb page เป็นการดู Content ต่างๆ บนเว็บ ที่ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์นั้นเข้ามา
· Web structure mining –เก้บข้อมูลการใช้จากlink เป็นการดูว่าความน่าสนใจของการออกแบบเว็บนั้น จะสามารถทำให้ผู้เข้าชมจดจำ URL หรือว่าเข้าสู่เว็บไซต์ผ่านทาง link
· Web usage mining – เก็บข้อมูลการใช้จาก click stream เป็นการดูพฤติกรรมการเข้าชมเว็บไซต์ของลูกค้าว่า ดูส่วนไหนบ้าง จากตรงนี้เลือกดูอะไรต่อ
Strategic Information System Planning
การวางแผนจะช่วยให้การใช้งานระบบ IT มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และสามารถใช้ได้อย่างถูกต้องและถูกเวลา โดยจะต้องคำนึงถึงทั้ง infrastructure และ application ซึ่งหลักการและเทนนิคการวางแผนในที่จะกล่าวถึงในที่นี้ มี3 วิธี
1. Four-stage Planning Model
2. The Business Systems Planning (BSP)
3. Critical Success Factors (CSF)
2. The Business Systems Planning (BSP)
3. Critical Success Factors (CSF)
Four-stage Planning Model
1. Strategic IT Planning เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับกลยุทธ์ โดยจะมี 4 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
· Set IT Mission เป็นการกำหนดว่า บทบาทหน้าที่ของ IS ที่มีต่อการทำธุรกิจนั้นๆ เป็นอย่างไร
· Access Environment มองถึงสภาพแวดล้อมทั้งขององค์กร และที่เกี่ยวข้องกับ IS เช่น ความสามารถ และสภาพแวดล้อมขององค์กรในปัจจุบัน, มีการจัด Application Portfolio ไว้อย่างไรบ้าง
· Access Organizational Objectives Strategies เป็นการเข้าถึงแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์กรในปัจจุบันและมองว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบส่วนไหน เพื่อสนับสนุนกลยุทธ์ขององค์กร
· Set IS Policies, Objectives, Strategies โดยจะต้องระบุโครงสร้างองค์กร (สายบังคับบัญชา), เทคโนโลยีที่มุ่งเน้น, วิธีการจัดสรรทรัพยากร, กระบวนการการจัดการต่างๆ และจะต้องสะท้อนถึง Charter ที่วางไว้ด้วย
2. Information Requirements Analysis พิจารณากลยุทธ์ไหนที่ต้องใช้สารสนเทศในการรองรับ ระบุสารสนเทศที่ต้องใช้ ระบบที่ผลิตสารสนเทศ ซึ่งมี 2 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
· Access Organization's Information Requirements กล่าวคือ องค์กรต้องการข้อมูลสารสนเทศตัวใดบ้าง ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต
· Assemble Master Development Plan กล่าว คือ เมื่อทราบความต้องการขององค์กรแล้ว จะต้องมีการนำมาวางเป็นแผนการพัฒนาว่า จะต้องมีระบบ หรือโครงการใดบ้าง โดยจะต้องระบุนิยามของระบบสารสนเทศแต่ละระบบ หรือแต่ละโครงการ, ระดับความสำคัญของแต่ละโครงการ และการจัดตารางเวลาการพัฒนา หรือนำมาใช้ (ซึ่งจะต้องวางในระยะหลายๆ ปี)
3. Resource Allocation ต้องใช้ Hardware Softwareอะไรบ้าง
4. Project Planning เป็นการพัฒนาแผนสำหรับโครงการ IS ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับตารางเวลา และความต้องการของทรัพยากรที่ใช้ อาจจะใช้เครื่องมือ Project Management เข้ามาช่วยวางแผน เช่น โครงการนี้มีขั้นตอนอะไรบ้าง ใช้ต้นทุนเท่าไร ใช้เวลานานเท่าใด ฯลฯ อาจกล่าวได้ว่าประเมินความคุ้มค่าของโครงการจากต้นทุนและเวลาที่ต้องใช้ว่าคุ้มค่าหรือไม่ รวมทั้งระบุหน้าที่งานที่ต้องทำ วางแผนงานตามช่วงเวลา
The Business Systems Planning (BSP) มีขั้นตอนดังนี้
1. Gaining Commitment
2. Defining Business Process
3. Defining Data Classes
4. Analyzing Current Systems Support
5. Defining Findings and Conclusions
6. Defining Info Architecture
7. Determining Architecture Priorities
8. Developing Action Plan
ข้อดี คือ - มองอย่างครอบคลุมทั้งองค์กร ระบบ ผู้ใช้ข้อมูล และช่องว่าง - เหมาะสำหรับช่วงเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลง หรือการเปลี่ยนแปลงเป็นจำนวนมาก
ข้อเสีย คือ - ใช้ระยะเวลานาน - ผลิตข้อมูลเป็นจำนวนมาก ต้องใช้ค่าใช้จ่ายจำนวนมากในการจัดเก็บข้อมูลและยากในการวิเคราะห์ - ใส่ใจกับข้อมูลปัจจุบันมากกว่าอนาคต
Critical Success Factors (CSF) มีขั้นตอนดังนี้
1. Aggregate and Analyze Individual CSFs
2. Develop Agreement on Company CSFs
3. Define Company CSFs
4. Define DSS and Database
5. Develop IS Priorities
ข้อดี คือ - ข้อมูลจำนวนน้อยกว่าในการวิเคราะห์ - คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม - ให้ความสำคัญกับเรื่องที่ว่าองค์กรจะจัดการกับข้อมูลอย่างไร เน้นที่อนาคตขององค์กร
ข้อเสีย คือ - ขั้นตอนและการวิเคราะห์อยู่ในรูปของ art form - เกิดความสับสนของผู้ให้สัมภาษณ์ระหว่าง CSF ของตนเองและขององค์กร - ไม่ให้ความสำคัญกับผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
ณัฐณิชา อร่ามเธียรธำรง
5202112792
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น